หลักการเขียนข้างขึ้นข้างแรม

การอ่านวัน เดือนทางจันทรคติการเขียนวัน เดือนทางจันทรคติ ประกอบด้วย เลข 3 ตำแหน่ง ดังนี้

 1. เลขตำแหน่งที่ 1 หมายถึงวัน มี 7 เลข คือ
       ๑ หมายถึง วันอาทิตย์                 ๒ หมายถึง วันจันทร์
       ๓ หมายถึง วันอังคาร                  ๔ หมายถึง วันพุธ
       ๕ หมายถึง วันพฤหัส                  ๖ หมายถึง วันศุกร์ 
       ๗ หมายถึง วันเสาร์

2. เลขตำแหน่งที่ 2 หมายถึง ข้างขึ้น เขียนไว้บนเครื่องหมาย "ฯ"  ส่วนข้างแรม เขียนไว้ใต้เครื่องหมาย "ฯ" มีเลขตั้งแต่ ๑-๑๕

3. เลขตำแหน่งที่ 3 หมายถึง เดือนทางจันทรคติ มีเลขตั้งแต่ ๑-๑๒  โดยที่เดือน 1 หรือที่เรียก ว่าเดือนอ้าย หมายถึง เดือนธันวาคม

  ตัวอย่าง

                      ๒                        
                 ๗ ฯ ๑๒         อ่านว่า วันเสาร์ขึ้น ๒ ค่ำ เดือน ๑๒ หรือ เดือนพฤษจิกายน
                                           


                    ๕ ฯ ๑๐      อ่านว่า วันพฤหัสบดีแรม ๑๒ ค่ำเดือน ๑๐ หรือ เดือนกันยายน
                      ๑๒

15 ความคิดเห็น:

  1. คำตอบ
    1. มึงโหดอ่อสัสเย็ดแม่อย่ามาห้าวหน้าหี

      ลบ
  2. อย่างเสี่ยวเลย ทดให้กุงงอีก อี ด๊อก

    ตอบลบ
  3. มันต้องอ่านว่า
    วันเสาร์เดือน12ขึ้น2ค่ำ
    อันเเรกน่ะ

    ตอบลบ
  4. ไม่ระบุชื่อ9 มกราคม 2560 เวลา 06:48

    ช่วยอธิบายเกี่ยวกับเรื่องของ เดือน ได้มั้ยค่ะ ถ้าเดือน1-เดือนอ้าย 2-เดือนกุมภา. 3-เดือนมีนา 10ก้ต้องเป็นตุลาคมสิค่ะ ทำไมถึงเป็นกันยาอะ

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. อ้าย = ธันวาคม
      ยี่ = มกราคม
      สาม = กุมภาพันธ์
      .
      .
      สิบ = กันยายน
      .
      สิบสอง = พฤศจิกายน ครับ

      ลบ
  5. หากเขียนอย่างนี้ (๓ฯ๑ เถาะ) จะอ่านว่าอย่างไรครับ แสดงว่าเขียนไม่ครบไม่สามารถอ่านได้ใช่ไหม ขาดข้างขึ้นข้างแรมใช่ไหมครับ.

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. ขาดข้างขึ้นข้างแรมค่ะ
      อ่าน วัน เดือน ขึ้น ปี ค่ะ

      ลบ
  6. หากเขียนอย่างนี้ (๓ฯ๑ เถาะ) จะอ่านว่าอย่างไรครับ แสดงว่าเขียนไม่ครบไม่สามารถอ่านได้ใช่ไหม ขาดข้างขึ้นข้างแรมใช่ไหมครับ.

    ตอบลบ
  7. เขาถูกแล้ว
    อย่ามัว

    ตอบลบ
  8. ไม่ระบุชื่อ16 ธันวาคม 2560 เวลา 07:00

    ไอมัว
    เช็ดเข้

    ตอบลบ